ศิลปศาสตรบัณฑิต (Bachelor of Arts)

1. การท่องเที่ยว (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Tourism
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1 อาชีพเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยวและตัวแทนนำเที่ยว
     – มัคคุเทศก์ (Tour Guide) และผู้นําเที่ยว (Tour Leader)
     – เจ้าหน้าที่วางแผนจัดนําเที่ยว (Travel Planner)
     – ตัวแทนท่องเที่ยว (Travel Agencies)
     – เจ้าหน้าที่ขายและการตลาด (Sales and Marketing)
     – พนักงานออกบัตรโดยสารสายการบิน (Ticketing Officer)
     – เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการทัวร์ (Tour Operation)
     – ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว (Tourism Entrepreneur)
2 ตำแหน่งงานในองคก์รที่เกี่ยวขอ้งกับการท่องเที่ยว
     – นักส่งเสริมการท่องเที่ยว
     – นักพัฒนาการท่องเที่ยว
     – นักวิชาการด้านการท่องเที่ยว
     – เจ้าหน้าที่ประจำแหล่งท่องเที่ยวภาครัฐและเอกชน
     – ตำรวจท่องเที่ยว กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว
     – เจ้าหน้าที่หน่วยงานอุทยานแห่งชาติ
 

2. การโรงแรม (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Hospitality
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ผู้ประกอบการในธุรกิจโรงแรม
2. ผู้ประกอบอาชีพในธุรกิจโรงแรม ได้แก่ พนักงานบริการส่วนหน้าในโรงแรม พนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม พ่อครัว พ่อครัวขนมปังอบ และพนักงานแม่บ้านในโรงแรม (จากมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาธุรกิจโรงแรม)
3. ผู้ประกอบอาชีพในธุรกิจการบินและธุรกิจบริการอื่น ๆ
4. เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
5. สามารถประกอบอาชีพอิสระที่เกี่ยวข้องกับงานด้านที่พัก อาหารและเครื่องดื่ม และงานส่วนแม่บ้านเป็นของตนเองได้

3. ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    English for International Communication
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิเทศสัมพันธ์
2. นักประชาสัมพันธ์
3. เลขานุการ
4. พนักงานต้อนรับ
5. เจ้าหน้าที่ลูกค้าสัมพันธ์
6. นักแปลเอกสาร
7. นักสื่อสารธุรกิจระหว่างประเทศ
8. อาจารย์

4. ภาษาญี่ปุ่น (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Japanese
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. อาจารย์
2. มัคคุเทศก์
3. ล่าม
4. นักแปล
5. เจ้าหน้าที่สถานทูต
6. พนักงานบริษัท
7. พนักงานธนาคาร
8. เลขานุการ

5. ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Chinese for Communication
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. บุคลากรในธุรกิจอุตสาหกรรมการบริการ (ธุรกิจโรงแรม บริษัทท่องเที่ยว บริษัทสายการบิน และสถานพยาบาล)
2. บุคลากรในโรงงานอุตสาหกรรม หรือธุรกิจนเข้าและส่งออก
3. ผู้แปลภาษา หรือล่ามภาษา
4. อาจารย์สอนภาษาจีน
5. เจ้าของธุรกิจที่ดำเนินธุรกิจโดยใช้ภาษาจีน

6. การออกแบบนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Thai Wisdom Product Innovation Design

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
2. วิทยากรฝึกอบรมด้านการออกแบบนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย
3. นักวิชาการส่งเสริม และพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
4. ธุรกิจส่วนตัว (ด้านการออกแบบ)
5. นักออกแบบอิสระ
6. นักเขียนบทความด้านการออกแบบนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย
7. ผู้บริหาร / หัวหน้างานด้านการออกแบบนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทยในสถานประกอบการ
8. หัวหน้าโครงการในหน่วยงานทางการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
9. นักออกแบบด้านบรรจุภัณฑ์
10. นักออกแบบกราฟิกดีไซน์
11. นักออกแบบตกแต่ง Display และนิทรรศการ

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (Master of Arts)

1. ภาษาอังกฤษเพื่ออุตสาหกรรมบริการ (ปริญญาโท)

English for Service Industry

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. บุคลากรในอุตสาหกรรมบริการ อาทิ ภาคธุรกิจการท่องเที่ยว การโรงแรม และงานด้านบริการ
2. บุคลากรในภาคธุรกิจการนำเข้าและส่งออกสินค้าระหว่างประเทศ
3. บุคลากรในองค์กรภาคธุรกิจการผลิต ในแผนกการตลาด การประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร
4. บุคลากรในองค์กรภาคอุตสาหกรรมอื่นที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถและทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในงาน

เทคโนโลยีบัณฑิต (Bachelor of Technology)

1. เทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Photography and Film Technology
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. อาชีพด้านช่างภาพ เช่น
     – ช่างภาพแฟชั่น
     – ช่างภาพโฆษณา
     – ช่างภาพงานวารสารศาสตร์
     – ช่างภาพอีเวนต์ (Event)
     – ช่างภาพสารคดี
     – ช่างภาพสต๊อคโฟโต้ (Stock photo)
     – นักตกแต่งภาพและกราฟิก
     – นักสร้างสรรค์ดิจิทัลคอนเทนต์ (Content Creater) เช่น ยูทูบเบอร์
2. อาชีพด้านภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ เช่น
     – ผู้กํากับภาพยนตร์
     – ผู้เขียนบทภาพยนตร์
     – เจ้าหน้าที่ควบคุมการผลิตงานภาพยนตร์และโทรทัศน์
     – เจ้าหน้าที่ฝ่ายตัดต่องานภาพยนตร์และโทรทัศน์
     – เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดแสงงานภาพยนตร์และโทรทัศน์

2. เทคโนโลยีสื่อดิจิทัลและสื่อสารมวลชน (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

     Digital Media and Mass Communication Technology

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ผู้ผลิตและสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์และวิทยุทัศน์ (Producer / Content Creator)
2 นักตัดต่อลำดับภาพและเสียง (Editor) / นักตกแต่งและเกลี่ยสีภาพ (Color Grading)
3. ผู้ประกาศ(Announcer) และผู้สื่อข่าว (News Reporter)
4. ผู้ควบคุมแสงในสตูดิโอและภาคสนาม (Studio & Outdoor Lighting Operator)
5. ผู้ควบคุมการออกอากาศ (Master Control Operator) /ผู้ควบคุมการผลิตสื่อวิดีโอระยะไกล (Remote Workfor Video Production)
6. พ็อตแคสท์เตอร์(Podcaster)
7. นักออกแบบกราฟิกและอินโฟกราฟิก (Graphic & Infographic Designer)
8. นักประชาสัมพันธ์สื่อออนไลน์ (OnlineSocial MediaPublic Relation)
9. ผู้สร้างสรรค์รายการบนสื่อสังคมออนไลน์ (Youtuber /Streamer)
10. ผู้ควบคุมอุปกรณ์เฉพาะทาง (Drone / Underwater Videography / Remote Video Production Worker)
11 เจ้าของกิจการหรือลงทุนทำธุรกิจด้านสื่อดิจิทัล (Proprietor / Entrepreneur)
12. ผู้ออกแบบกิจกรรมและสื่อผสมในงาน Event ต่างๆ และแบบ O2O (Onsite to Online) หรือ Hybrid

3. เทคโนโลยีการพิมพ์ดิจิทัลและออกแบบบรรจุภัณฑ์ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

     Digital Printing Technology and Packaging Design

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักออกแบบพัฒนาสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
2. เจ้าของกิจการด้านการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
3. ผู้แทนจําหน่ายวัสดุการพิมพ์หรือสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
4. นักวิเคราะห์วางแผนการผลิตและตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์ดิจิทัลและบรรจุภัณฑ์

4. เทคโนโลยีเครื่องเรือนและการออกแบบ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ เทียบโอนสมทบ)

    Furniture Technology and Design
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ผู้ปฏิบัติงานด้านกระบวนการผลิตเฟอร์นิเจอร์
2. ผู้ปฏิบัติงานเขียนแบบการผลิตเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งภายใน/อุตสาหกรรมผลิตเฟอร์นิเจอร์
3. ผู้ปฏิบัติงานควบคุมงาน/บริหารโครงการผลิตเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งภายใน
4. ผู้ปฏิบัติงานประเมินราคางานตกแต่งภายใน
5. ผู้ประกอบการธุรกิจเฟอร์นิเจอร์
6. อาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเฟอร์นิเจอร์/การจัดนิทรรศการ

5. ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Industrial Product Design
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมในภาครัฐและเอกชน
2. นักวิชาการทางด้านวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์
3. นักออกแบบสื่อกราฟิกออนไลน์รูปแบต่างๆ
4. อาชีพอิสระทางด้านการออกแบบ พัฒนาและจำหน่ายผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
5. ผู้ประกอบการในธุรกิจการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
6. นักออกแบบจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
7. นักออกแบบกราฟิกและบรรจุภัณฑ์
8. นักออกแบบผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 3 มิติ

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Bachelor of Science)

1. เคมี (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Chemistry
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักเคมีควบคุมคุณภาพ (Quality control chemist) ในหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน
2. นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Research and development chemist)/นักวิชาการ ในหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน
3. นักเคมีวิเคราะห์ในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
4. ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคนิคในห้องปฏิบัติการ (Laboratory technician)
5. นักวิทยาศาสตร์งานประกันคุณภาพมาตรฐานห้องปฏิบัติการ (Quality assurance scientist)
6. พนักงานส่งเสริมการขายเครื่องมือวิเคราะห์ทางเคมี สารเคมีและอุปกรณ์
7. ครู/อาจารย์ 8. ประกอบธุกิจส่วนตัว

2. เทคโนโลยีและการจัดการความปลอดภัยของอาหาร (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Food Safety Management and Technology
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ที่ปรึกษาระบบคุณภาพอาหารในภาคเอกชน
2. ผู้ตรวจสอบมาตรฐานอาหารในภาคเอกชน
3. หัวหน้าส่วนงานประกันคุณภาพอาหารและควบคุมคุณภาพอาหาร
4. หัวหน้าส่วนงานผลิตและวางแผนการผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร
5. นักวิชาการ นักเทคโนโลยีและนักวิทยาศาสตร์ทางอาหาร
6. นักวิจัยและพัฒนาของรัฐและเอกชน
7. อาชีพอิสระที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมอาหารและธุรกิจอาหาร

3. วิทยาการคอมพิวเตอร์ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Computer Science
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงานทางคอมพิวเตอร์
3. วิศวกรข้อมูล/ นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล
4. นักวิเคราะห์ข้อมูล
5. นักออกแบบระบบปัญญาประดิษฐ์

4. เทคโนโลยีสารสนเทศ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Information Technology
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ผู้ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2. ผู้ทดสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. ผู้ดูแลความมั่นคงปลอดภยัทางไซเบอร์
4. นักพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

5. วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพและความงาม (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Health Science and Aesthetic
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิทยาศาสตร์ในส่วนงานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพและความงาม
2. นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพและความงาม
3. ผู้ควบคุมการผลิตและควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพและความงาม
4. ผู้ประกอบธุรกิจ / เจ้าของผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ ความงาม และสปา
5. ที่ปรึกษาผู้บริหารในสถานเสริมความงามและสปา
6. นักวิชาการและวิทยากรด้านสุขภาพและความงาม
7. อาชีพเกี่ยวกับสุขภาพ และความงาม ตามสถานที่ต่าง ๆ ไดห้ลากหลาย ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น โรงพยาบาล หน่วยสุขภาพและความงาม โรงแรม และรีสอร์ท

6. เทคโนโลยีชีวภาพเพื่ออุตสาหกรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

     Biotechnology for Agro-Industry and Environment

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักเทคโนโลยีชีวภาพ/นักวิทยาศาสตร์ด้านอุตสาหกรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม
2. นักควบคุมและประเมินคุณภาพด้านอุตสาหกรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม
3. นักวิชาการทางด้านการเกษตรและหรือด้านสิ่งแวดล้อม
4. นักวิชาการด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
5. นักวิเคราะห์ข้อมูลทางเทคโนโลยีชีวภาพเพื่ออุตสาหกรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม
6. นักวิจัยและพัฒนา
7. เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการภาครัฐ และเอกชน
8. ที่ปรึกษาธุรกิจภาครัฐและเอกชน
9. ผู้ประกอบธุรกิจส่วนตัว

7. เทคโนโลยีพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

     Energy Technology for Environment

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบพลังงาน
2. นักวิชาการด้านเทคโนโลยีพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม
3. ผู้ประกอบการเกี่ยวกับการจัดการเทคโนโลยีพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม
4. ผู้เชี่ยวชาญด้านประหยัดพลังงานเพื่อการดูแลสิ่งแวดล้อม
5. ที่ปรึกษาเกี่ยวกับการจัดการเทคโนโลยีพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม
6. นักวิจัยด้านพลังงานทดแทน
7. ประกอบธุรกิจส่วนตัว
    1.  

ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (Bachelor of Science in Technical Education)

1. วิศวกรรมเครื่องกล (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Mechanical

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ครู อาจารย์ ช่างอุตสาหกรรมที่ปฏิบัติการสอนในสถาบันอาชีวศึกษาด้านเครื่องกลและยานยนต์
2. วิทยากรผู้ฝึกอบรม ในสถานประกอบการ ด้านเครื่องกลและยานยนต์
3. พนักงานในสถานประกอบการในตำแหน่งวิศวกรเครื่องกลและยานยนต์ โดยสามารถออกแบบควบคุมซ่อมบำรุง และกระบวนการต่าง ๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม
4. อาชีพอิสระด้านเครื่องกลและยานยนต์

2. อุตสาหการ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Industrial  Engineering

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ครู/อาจารย์ในสถานศึกษาของภาครัฐและเอกชน
2. วิทยากร/ผู้ฝึกอบรมในสถานประกอบการ
3. หัวหน้างาน/ผู้บริหารด้านอุตสาหกรรม
4. หัวหน้างาน/ผู้บริหารศูนย์ฝึกอบรมในโรงงานอุตสาหกรรม
5. ผู้บริหารโครงการด้านอุตสาหกรรม
6. ผู้ปฏิบัติงานที่มีทักษะวิชาชีพชั้นสูง
7. ประกอบอาชีพอิสระที่เกี่ยวข้องกับงานในสาขาวิชาอุตสาหการ

อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (Bachelor of Industrial Technology )

1. เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Next-generation Automotive Technology

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ผู้ช่วยวิจัยทางด้านอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
2. นักปฏิบัติการซ่อมบำรุงยานยนต์สมัยใหม่
3. นักปฏิบัติการวินิจฉัยและแก้ปัญหายานยนต์สมัยใหม่
4. นักปฏิบัติการติดตั้งและซ่อมบำรุงเครื่องอัดประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์สมัยใหม่
5. นักปฏิบัติการประกอบ ออกแบบและทดสอบ แบตเตอรี่แรงดันสูง
6. นักเทคนิคซอฟต์แวร์และสื่อสารของระบบอัดประจุไฟฟ้าสำหรับยานยนต์สมัยใหม่
7. นักเทคนิคซอฟต์แวร์และระบบสื่อสารของยานยนต์สมัยใหม่
8. วิทยากรฝึกอบรมด้านยานยนต์สมัยใหม่ในสถานประกอบการ
9. ผู้ประกอบการธุรกิจด้านยานยนต์สมัยใหม่

2. เทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการสมัยใหม่ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

 

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ผู้บริหาร/หัวหน้างาน/ผู้ปฏิบัติงาน/ผู้ชำนาญงานด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการสมัยใหม่ด้านการผลิต และการจัดการ ด้านเทคโนโลยีโลหการและนวัตกรรมวัสดุ ด้านเทคโนโลยีเครื่องกล ด้านเทคโนโลยีพลังงาน เช่น โรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ โรงงานหล่อโลหะและโรงงานพลาสติก เป็นต้น
2. พนักงานในหน่วยงานรัฐ งานพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รัฐวิสาหกิจต่างๆ และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. นักประดิษฐ์นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการสมัยใหม่
4. วิศวกร/วิศวกรควบคุม/ผู้ช่วยวิศวกร ในงานอุตสาหกรรมการผลิตและการจัดการ
5. นักออกแบบและวางแผน ระบบทางวิศวกรรมและควบคุมการผลิต
6. นักตรวจสอบและควบคุมคุณภาพวัสดุ
7. ผู้รับผิดชอบด้านการจัดการพลังงานทั้งในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม
8. ผู้ช่วยวิจัยในสถาบันวิจัย
9. ผู้ประกอบการอิสระด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี

ครุศาสตรมหาบัณฑิต (Master of Education)

1. การวิจัยและพัฒนาการสอนเทคนิคศึกษา (ปริญญาโท 2 ปี สมทบ)


Technical Pedagogic Research and Development

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ครู/อาจารย์ในสถานศึกษาของภาครัฐ และเอกชน
2. ผู้บริหาร/หัวหน้างานด้านอุตสาหกรรม
3. วิทยากร/ผู้ฝึกอบรมในสถานประกอบการ
4. นักวิจัยทางการศึกษา
5. นักวิชาการการศึกษา

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (Bachelor of Engineering)

1. วิศวกรรมโยธา (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ เทียบโอน ปกติ/ เทียบโอน สมทบ)

Civil Engineering

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. พนักงานในสถานประกอบการ ในตำแหน่งวิศวกรโยธา
2. เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในตำแหน่งวิศวกรโยธา
3. ประกอบธุรกิจของตนเองด้านวิศวกรรมโยธา
4. วิศวกรโครงการ (Project Engineer)
5. วิศวกรควบคุมงาน (Site Engineer)
6. วิศวกรขายและบริการ (Sale and Service Engineer)

2. วิศวกรรมไฟฟ้า (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ เทียบโอน สมทบ)

Electrical Engineering

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. วิศวกรไฟฟ้า (Electrical Engineer)
2. วิศวกรวิจัยและพัฒนา (Research and Development Engineer)
3. วิศวกรขายและบริการ (Sales and Service Engineer)
4. วิศวกรโครงการ (Project Engineer)
5. วิศวกรที่ปรึกษา (Consultant Engineer)
6. วิศวกรตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ (Quality Assurance and Control Engineer)
7. นักวิชาการหรือนักวิจัย (Academic Scholar or Researcher)
8. เจ้าของกิจการ (Business Owner)

3. วิศวกรรมเครื่องกล (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ เทียบโอน ปกติ)

Mechanical Engineering

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. วิศวกรเครื่องกล (Mechanical Engineer)
2. วิศวกรฝ่ายออกแบบ (Design Engineer)
3. วิศวกรควบคุมการผลิต (Process Engineer)
4. วิศวกรฝ่ายงานระบบภายในอาคาร (Building System Engineer)
5. วิศวกรระบบทำความเย็นและปรับอากาศ (Refrigeration and Air Conditioning Engineer)
6. วิศวกรโครงการ (Project Engineer)
7. วิศวกรฝ่ายซ่อมบำรุง (Maintenance Engineer)
8. นักวิชาการหรือนักวิจัย (Academic Scholar or Researcher)
9. ผู้ประกอบการ (Entrepreneur)
10. วิศวกรยานยนต์สมัยใหม่ (Modern Vehicle Industry)

4. วิศวกรรมอุตสาหการ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ เทียบโอน ปกติ)

Industrial Engineering

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. พนักงานในสถานประกอบการในตำแหน่ง วิศวกรการผลิต วิศวกรอุตสาหการ วิศวกรควบคุมคุณภาพ วิศวกรวางแผนการผลิต วิศวกรซ่อมบำรุงรักษา วิศวกรโรงงาน วิศวกรออกแบบผลิตภัณฑ์ วิศวกรจัดซื้อ วิศวกรแม่พิมพ์และขึ้นรูป
2. เจ้าหน้าที่ของรัฐในสถานประกอบการในตำแหน่ง วิศวกรซ่อมบำรุง วิศวกรออกแบบกระบวนการผลิต วิศวกรวางแผนการผลิต
3. ผู้สอนในสถาบันการศึกษาที่ผลิตระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือผู้สอนในสถาบันการศึกษาที่ผลิตระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
4. ประกอบธุรกิจส่วนตัวด้านวิศวกรรมอุตสาหการที่เกี่ยวกับกระบวนการผลิต หรือการบริการ
5. นักวิจัยในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน

5. วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ เทียบโอน สมทบ)

Electronics and Telecommunication Engineering

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. เจ้าหน้าที่ของรัฐและรัฐวิสาหกิจในสถานประกอบการ ในตำแหน่งวิศวกรอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
2. ประกอบธุรกิจส่วนตัวด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
3. วิศวกรอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
4. วิศวกรผู้ออกแบบและควบคุมงาน
5. วิศวกรออกแบบผลิตภัณฑ์
6. วิศวกรวิจัยและพัฒนา
7. วิศวกรขายและบริการ
8. วิศวกรโครงการ
9. วิศวกรที่ปรึกษา
10. นักวิชาการหรือนักวิจัย

6. วิศวกรรมเคมี (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Chemical Engineering

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. วิศวกรเคมีในกระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ในอุตสาหกรรมเคมี เช่น ปิโตรเคมี ผลิตภัณฑ์สี อาหาร ยา เป็นต้น
2. วิศวกรเคมีในงานขาย งานซ่อมบำรุง ของเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมเคมี

7. วิศวกรรมสำรวจ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Surveying Engineering

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. วิศวกรสำรวจ (Survey Engineering) ในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
2. ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมสำรวจ (Surveying Consultant Engineer)
3. นักวิชาการแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ (Photogrammetrist)
4. นักเขียนแผนที่ (Cartographer)
5. นักพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศ (GIS Developer)
6. เจ้าของกิจการ(Business Owner) ด้านวิศวกรรมสำรวจ และรังวัดเอกชน
7. ผู้สอนในสถาบันการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
8. วิศวกรวิจัยและพัฒนา (Research and Development Engineer) ในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
9. นักวิชาการ (Academic Scholar or Researcher) ในองค์กรต่างๆ
10. วิศวกรขายและบริการ (Sale and Service Engineer)

8. วิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Aircraft Maintenance Engineering

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. เจ้าหน้าที่ของรัฐและรัฐวิสาหกิจในสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งวิศวกรซ่อมบำรุงอากาศยาน
2. ประกอบธุรกิจส่วนตัวด้านซ่อมบำรุงอากาศยาน
3. วิศวกรซ่อมบำรุงอากาศยาน บริการภาคพื้นอากาศยาน
4. เจ้าหน้าที่ควบคุมดูแลงานท่าอากาศยาน
5. นักวางแผนการซ่อมบำรุงอากาศยาน
6. เจ้าหน้าที่ควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยการซ่อมบำรุงอากาศยาน
7. นักวิชาการหรือนักวิจัย

9. วิศวกรรมอัตโนมัติและหุ่นยนต์ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Automation and Robotics Engineering

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. วิศวกรระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์
2. วิศวกรประจำโรงงานที่ควบคุมด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติและหุ่นยนต์
3. โปรแกรมเมอร์ควบคุมเครื่องจักรอัตโนมัติและหุ่นยนต์
4. วิศวกรออกแบบระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์
5. วิศวกรฝ่ายขายและบริการ
6. วิศวกรโครงการ
7. วิศวกรผู้ผสานรวมระบบ (System Integrator)
8. ผู้ประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมอัตโนมัติและหุ่นยนต์
9. ผู้ประกอบอาชีพอิสระด้านวิศวกรรมอัตโนมัติและหุ่นยนต์

10. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และระบบไอโอที (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Computer Engineering and IoT System

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. วิศวกรคอมพิวเตอร์
2. นักพัฒนาซอฟต์แวร์
3. นักวิชาการคอมพิวเตอร์
4. นักวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบคอมพิวเตอร์
6. ผู้ดูแลระบบเครือข่าย
7. ผู้ดูแลระบบสารสนเทศองค์กร
8. ผู้จัดการโครงการคอมพิวเตอร์
9. นักวิทยาการข้อมูลและข้อมูลดิจิทัล
10. วิศวกรระบบ IoT
11. วิศวกร Big Data
12. วิศวกร Cloud Computing
13. นักออกแบบและพัฒนาแอพพลิเคชัน IoT
14. นักออกแบบและบริหารการจัดการเกษตรอัจฉริยะ IoT
15. ผู้ประกอบการร้านค้าอัจฉริยะบนระบบ IoT

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (Master of Engineering)

1. วิศวกรรมการผลิต (ปริญญาโท 2 ปี ปกติ/ สมทบ)

    Manufacturing Engineering

2. วิศวกรรมไฟฟ้า (ปริญญาโท 2 ปี ปกติ / 2 ปี สมทบ)

      Electrical Engineering

3. วิศวกรรมเครื่องกล (ปริญญาโท 2 ปี ปกติ / 2 ปี สมทบ)

      Mechanical

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Department of Mechanical Engineering)

1. วิศวกรรมศาสตร์ (แบบ 1.1)  (ปริญญาเอก 3 ปี ปกติ)

     Engineering 

2. วิศวกรรมศาสตร์ (แบบ 2.1)  (ปริญญาเอก 3 ปี ปกติ / สมทบ)

     Engineering 

3. วิศวกรรมศาสตร์ (แบบ 2.2)  (ปริญญาเอก 4 ปี ปกติ )

     Engineering

4. การจัดการวิศวกรรมและเทคโนโลยี (แบบ 1.1)  (ปริญญาเอก 3 ปี ปกติ/ 3 ปี สมทบ)

     Engineering and Technology Management

5. การจัดการวิศวกรรมและเทคโนโลยี (แบบ 2.1)  (ปริญญาเอก 3 ปี ปกติ / สมทบ)

     Engineering and Technology Management

6. วิศวกรรมไฟฟ้า (แบบ 2.1) (ปริญญาเอก 3 ปี ปกติ)

    Electrical Engineering

7. วิศวกรรมเครื่องกล 

      Mechanical

บริหารธุรกิจบัณฑิต (Bachelor of Business Administration)

1. การเงินและนวัตกรรมทางการเงิน (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Finance

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. เจ้าหน้าที่การเงิน
2. เจ้าหน้าที่สินเชื่อ
3. นักวางแผนการเงินส่วนบุคคล
4. นักวิเคราะห์ทางการเงิน
5. เจ้าหน้าที่การตลาดบริษัทหลักทรัพย์
6. นักวิเคราะห์หลักทรัพย์
7. นักลงทุนสัมพันธ์
8. เจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ
9. ผู้จัดการกองทุน
10. ที่ปรึกษาทางการเงิน
11. นักบริหารสินทรัพย์

2. การจัดการธุรกิจสมัยใหม่ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ 4 ปี สมทบ/ เทียบโอน ปกติ/ เทียบโอน สมทบ)

Management

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการ
2. เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายนโยบายและแผน
4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์/บริการลูกค้า
5. เจ้าหน้าที่ฝ่ายฝึกอบรม
6. เจ้าหน้าที่ติดต่อประสานงาน
7. ผู้จัดการทั่วไป ผู้จัดการทรัพยากรมนุษย์
8. เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์
9. เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
10. เจ้าหน้าที่ควบคุมและประกันคุณภาพ
11. ผู้ประกอบการธุรกิจ

3. การตลาด (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ 4 ปี สมทบ/ เทียบโอน ปกติ/ เทียบโอน สมทบ)

Marketing

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. พนักงานด้านตลาดระหว่างประเทศและโลจิสติกส์
2. พนักงาน/ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อในประเทศและต่างประเทศ
3. พนักงาน/ผู้จัดการฝ่ายขายในประเทศและต่างประเทศ
4. พนักงาน/ผู้จัดการฝ่ายวิจัยตลาด
5. พนักงาน/ผู้จัดการฝ่ายโฆษณาประชาสัมพันธ์
6. พนักงาน/ผู้จัดการฝ่ายการตลาด
7. พนักงาน/ผู้จัดการฝ่ายกิจกรรมสัมพันธ์และกิจกรรมพิเศษทางการตลาด
8. พนักงาน/ผู้จัดการฝ่ายบริการธุรกิจ
9. พนักงาน/ ผู้จัดการ ตลาดเชิงเนื้อหาและตลาดดิจิทัล
10. รับราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
11. ผู้ประกอบอาชีพอิสระ

4. การประเมินราคาทรัพย์สิน (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ 4 ปี สมทบ)

Property Valuation

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักประเมินราคาทรัพย์สินหน่วยงานภาคเอกชน
2. นักประเมินราคาทรัพย์สินหน่วยงานภาครัฐ
3. เจ้าหน้าที่ประเมินราคาหลักประกันของสถาบันการเงิน
4. นักพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์
5. นักลงทุนอสังหาริมทรัพย์
6. นักวิจัยด้านอสังหาริมทรัพย์
7. นักการตลาดอสังหาริมทรัพย์
8. งานด้านการบริหารทรัพย์สิน
9. ตัวแทนและนายหน้าอสังหาริมทรัพย์
10. ประกอบธุรกิจส่วนตัวด้านอสังหาริมทรัพย์

5. การสื่อสารธุรกิจระหว่างประเทศ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

International Business Communication

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ผู้ดูแลสื่อ
2. เจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์
3. ตัวแทนผลิตสื่อขององค์กร
4. ที่ปรึกษาด้านภาษาอังกฤษและการสื่อสาร
5. ผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารและวัฒนธรรม
6. ผู้ประกอบการที่เชียวชาญด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์
7. ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ ฝ่ายกิจการต่างประเทศ ฝ่ายกิจการสังคม

6. นวัตกรรมระบบสารสนเทศ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ เทียบโอน ปกติ/ เทียบโอน สมทบ)

Information Systems

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. งานที่เกี่ยวข้องกับวิชาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล เช่น นักวิชาการคอมพิวเตอร์
2. งานที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ เช่น นักวิเคราะห์ระบบ นักทดสอบระบบ
3. งานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์และแอปพลิเคชัน เช่น โปรแกรมเมอร์
4. งานที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและบำรุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ในหน่วยงาน เช่น เจ้าหน้าที่ IT Support
5. งานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการระบบสารสนเทศและดิจิทัล เช่น ผู้ประสานงานโครงการระบบสารสนเทศและดิจิทัล
6. งานที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล เช่น นักวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ
7. งานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานวัตกรรม เช่น นวัตกรทางธุรกิจ
8. ผู้ประกอบการทางธุรกิจ เช่น ผู้ประกอบการด้านธุรกิจดิจิทัล
9. นักพากย์การแข่งขันเกม (Shout Caster)
10. นักพัฒนาเกม
11. นักทดสอบระบบเกม
12. ผู้จัดการแข่งขันอีสปอร์ต

7. ธุรกิจการบิน (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Aviation Business

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. พนักงานฝ่ายภาคอากาศ
1.1 พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน
1.2 พนักงานอำนวยการบิน
1.3 พนักงานประสานงานระหว่างเที่ยวบิน
2. พนักงานฝ่ายภาคพื้นดิน
2.1 พนักงานต้อนรับผู้โดยสารในห้องรับรองพิเศษ
2.2 พนักงานสำรองที่นั่งผู้โดยสาร
2.3 พนักงานตรวจสอบบัตรโดยสาร
2.4 พนักงานจัดตารางเที่ยวบิน
2.5 พนักงานขายตั๋วโดยสาร
2.6 พนักงานจัดการภายในลาดจอดอากาศยาน
3. พนักงานฝ่ายคลังสินค้าและการขนส่ง
3.1 พนักงานขายและสำรองระวางบรรทุกสินค้า
3.2 พนักงานคิดอัตราค่าระวางสินค้าและประสานงานลูกค้า
3.3 พนักงานนำเข้าและส่งออกสินค้าทางอากาศ
3.4 พนักงานจัดพื้นที่ระวางสินค้าบนอากาศยาน
3.5 พนักงานตัวแทนการออกของ
3.6 พนักงานดูแลลูกค้า

8. ดิจิทัลสตาร์ตอัป (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

 

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. เจ้าของธุรกิจและผู้ประกอบการใหม่
2. นักการตลาดออนไลน์
3. นักสื่อสารการตลาดออนไลน์
4. นักพัฒนาธุรกิจดิจิทัล
5. นักวางแผนกลยุทย์การตลาดดิจิทัล
6. เจ้าหน้าที่ฝ่ายขายและการตลาด 7.ผู้ดูแลลูกค้าและให้คำปรึกษา
8. พนักงานในหน่วยงานรัฐ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ

บัญชีบัณฑิต (Bachelor of Accountancy)

1. การบัญชี (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ เทียบโอน ปกติ/ เทียบโอน สมทบ)

Accounting

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ผู้ทำบัญชี
2. ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
3. ผู้สอบบัญชีภาษีอากร
4. ผู้ตรวจสอบภายใน
5. ผู้ประกอบการ
6. นักบัญชีบริหาร
7. นักบัญชีภาษีอากร
8. นักวางระบบบัญชี
9. นักวิชาการตรวจสอบภาษีอากร
10. นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน
11. นักวิชาการเงินและบัญชี
12. ที่ปรึกษาทางการเงินและบัญชี
13. งานด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง

เทคโนโลยีบัณฑิต (Bachelor of Technology)

1. เทคโนโลยีสารสนเทศและธุรกิจดิจิทัล (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ เทียบโอน ปกติ)

Information Technology and Digital Business

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิเคราะห์ข้อมูล (DataAnalyst)
2. Content Creator
3. นักการตลาดดิจิทัล (Digital Marketing/Online Marketing/Content Marketing)
4. นักธุรกิจดิจิทัล (Digital Entrepreneur)
5. ที่ปรึกษางานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Consultance)
6. นักเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Support / IT officer)
7. ผู้ทดสอบระบบ (Quality Assurance / Software Tester)
8. Business Analyst (IT)
9. นักพัฒนาโปรแกรม (Programmer/Developer)
10. นักจัดการฐานข้อมูล (Database Administrator)
11. นักวิจัย (Researcher)
    1.  

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (Master of Business Administration)

1. บริหารธุรกิจ (ปริญญาโท 2 ปี ปกติ/ 2 ปี สมทบ)

Business Administration

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
ผู้บริหารองค์กร หรือสถานประกอบการอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการบริหารธุรกิจ อาทิ ผู้บริหารโรงงาน ผู้บริหารสถานประกอบการ ผู้บริหารองค์กรภาครัฐและเอกชน ฯลฯ ผู้บริหารสถานประกอบการธุรกิจบริการ และภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ผู้ประกอบการธุรกิจระหว่างประเทศ นำเข้าและส่งออกสินค้าระหว่างประเทศ ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อม ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ผู้บริหารระดับต้นและระดับกลาง ด้านการตลาด การจัดการในองค์กรภาคเอกชน ที่ปรึกษาธุรกิจ ตามสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง

บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต (Master of Business Administration)

1. บริหารธุรกิจ

Business Administration

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
นักวิชาชีพอิสระด้านบริหารธุรกิจและการบริหารงานสมัยใหม่ นักพัฒนาวิทยากร นักวิชาการหรือนักวิชาชีพขั้นสูง ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการธุรกิจ ผู้บริหารระดับสูง ระดับกลาง และที่ปรึกษาในหน่วยงาน ทั้งภาครัฐหรือภาคเอกชน ผู้ประกอบการหรือผู้จัดการ บุคลากรด้านบริหารธุรกิจทั้งภาครัฐและเอกชนในธุรกิจขนาดใหญ่และขนาดย่อม เจ้าของธุรกิจ นักลงทุน นักวิจัยด้านบริหารธุรกิจ

คหกรรมศาสตรบัณฑิต Bachelor of Home Economics

1. เทคโนโลยีเสื้อผ้าและแพตเทิร์น (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Pattern and Garment Technology

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. หัวหน้าแพตเทิร์นและเสื้อผ้าตัวอย่าง
2. หัวหน้าวางแบบตัด
3. หัวหน้าควบคุมการผลิต
4. หัวหน้าตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์
5. ครูฝึกอบรมการสร้างแพตเทิร์นและตัดเย็บเสื้อผ้า
6. นักจัดการเครื่องแต่งกายและถ่ายภาพงานแฟชั่น
7. นักออกแบบเสื้อผ้าและผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
8. นักบริหารจัดการสินค้าแฟชั่น
9. ประกอบธุรกิจด้านเทคโนโลยีเสื้อผ้าและแพตเทิร์น
10. พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานราชการและเอกชน

2. ธุรกิจอาหาร (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Food Business

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ผู้ประกอบการด้านธุรกิจอาหาร หรือ ผู้จัดการด้านธุรกิจอาหาร
2. ผู้ประกอบอาหารเชฟ ในโรงแรม ภัตตาคารร้านอาหาร สายการบิน เรือเดินสมุทรทั้งใน และต่างประเทศ
3. นักออกแบบอาหาร (Food Stylist) หรืองานสื่อสิ่งพิมพ์ที่ทันสมัย
4. อาจารย์สอนด้านอาหาร
5. พิธีกร วิทยากรแนะนำและสาธิตอาหาร

3. อาหารและโภชนาการ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ/ 4 ปี สมทบ/ เทียบโอน ปกติ)

Foods and Nutrition

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. เชฟ หรือพ่อครัว แม่ครัว ในสถานประกอบการ
2. นักโภชนาการ
3. นักออกแบบ และพัฒนาตำรับอาหาร
4. ผู้ประกอบอาชีพธุรกิจด้านอาหาร เช่น กิจการร้านอาหาร การจำหน่ายอาหารผ่านตลาดออนไลน์
5. ผู้เผยแพร่วัฒนธรรมด้านอาหารไทย ทั้งในและต่างประเทศ
6. ที่ปรึกษาสถานประกอบการทางด้านอาหาร สถานบริการด้านสุขภาพ
7. พนกงานผู้แทนสินค้าและสาธิตสินค้าด้านอาหาร

เทคโนโลยีบัณฑิต Bachelor of Technology

1. การออกแบบแฟชั่น (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

    Fashion Design
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักออกแบบแฟชั่น (Fashion Designer)
2. นักออกแบบแฟชั่นดิจิทัล (Digital Fashion Designer)
3. นักบริหารจัดการสินค้าแฟชั่น (Fashion Merchandiser)
4. ฝ่ายจัดซื้อและจัดจำหน่ายสินค้าแฟชั่น (Fashion Buyer and Visual Merchandiser)
5. ผู้อำนวยการฝ่ายแฟชั่นและนักเขียนบทความแฟชั่น (Fashion Director and Content Editor)
6. นักออกแบบรูปแบบการแต่งกาย (Styling Fashion Designer)
7. ผู้ประกอบการด้านสินค้าแฟชั่น (Fashion Entrepreneur)
8. นักออกแบบรูปแบบการแต่งกายภาพลักษณ์ส่วนบุคคล (Personal Styling)
9. ผู้จัดการและออกแบบการจัดแสดงงานแฟชั่น (Exhibition and Fashion Show Manager)
10. นักประชาสัมพันธ์และถ่ายทอดงานแฟชั่น (FashionPR and Online Class Teacher)
11. นักวาดภาพประกอบงานแฟชั่น (Fashion Illustrator)
12. นักออกแบบแบบตัดแฟชั่น (Flat Pattern Designer)
13. นักออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกายแฟชั่น (Fashion Accessory Design)

วิทยาศาสตรบัณฑิต Bachelor of Science

1. อาหารและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Food Product Development

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. การเป็นผู้ประกอบการใหม่ด้านอุตสาหกรรมอาหาร(Food Start up) : เจ้าของกิจการที่เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหรือการส่งออกอาหารแปรรูป
2. ภาคอุตสาหกรรมอาหารและธุรกิจบริการอาหาร : เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหารและเครื่องดื่ม การผลิตอาหารการแปรรูปผลิตภัณฑ์ฝ่ายควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพ ในโรงงานอุตสาหกรรม เจ้าหน้าที่และผู้บริหารด้านการจัดการผลิตอาหาร นักพัฒนาตำรับและรายการ อาหาร ผู้ประกอบอาหาร นักออกแบบอาหารและคิดค้นรสชาติอาหาร
3. หน่วยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ : นักวิชาการ นักวิจัย และผู้ช่วยวิจัยในหน่วยงานต่าง ๆ เช่น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ สำนักโภชนาการและโรงพยาบาล สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติสถาบันวิจัยเกี่ยวกับอาหาร เป็นต้น
4. ธุรกจิส่วนตัว : ผู้ประกอบการ/เจ้าของกิจการ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารหรือ การแปรรูปอาหาร วิสาหกิจชุมชน ผลิตภัณฑ์ OTOP ธุรกิจร้านอาหารไทย อาหารนานาชาติ กาแฟ เบเกอรีขนมหวานและเครื่องดื่ม รับจ้างพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์อาหารต้นแบบ รับจ้างผลิตอาหารที่ปรึกษา การเปิดร้านอาหาร ธุรกิจอาหารไม่มีหน้าร้าน การบริการอาหารนอกสถานที่และธุรกิจอาหารออนไลน์
5. การศึกษาต่อ : สามารถศึกษาต่อในปริญญาขั้นสูง ในมหาวิทยาลยัภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ
6. ผู้จัดการร้านกาแฟ ผู้จัดการร้านเบเกอรี่
7.เชพประจำโรงแรม เชฟโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ธุรกิจอาหารขนาดย่อม
 

2. เทคโนโลยีอาหารและนวัตกรรม (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Food Technology and Innovation

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิชาการ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์
2. ผู้ควบคุมการแปรรูปอาหาร
3. ผู้ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ
4. ผู้ตรวจสอบมาตรฐานและระบบประกันคุณภาพอาหาร
5. นักพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร/นักนวัตกรรมทางด้านผลิตภัณฑ์อาหาร
6. ผู้จัดการด้านความปลอดภัยอาหาร
7. ผู้จัดการโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร
8. ผู้จัดการด้านการพัฒนาธุรกิจอาหาร
9. ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อสินค้าและวัตถุดิบอาหาร
10. ผู้ประกอบการ
11. นักออกแบบและวางแผนการตลาดในธุรกิจอาหาร
12. ตัวแทนขายเครื่องมือวิทยาศาสตร์ สารเคมี และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องทางอาหาร
13. ที่ปรึกษาการวางแผนธุรกิจอาหาร

ศึกษาศาสตรบัณฑิต Bachelor of Education

1. คหกรรมศาสตร์ศึกษา (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติเทียบโอน ปกติ)

Home Economics Education

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ครูและอาจารย์ด้านคหกรรมศาสตร์ในสถานศึกษา
2. วิทยากรฝึกอบรมวิชาชีพคหกรรมศาสตร์
3. นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร
4. นักเขียนบทความทางด้านวิชาชีพคหกรรมศาสตร์
5. ประกอบอาชีพอิสระ

คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต

1. คหกรรมศาสตร์

Home Economics Education
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. อาจารย์ในสถาบันการศึกษาของภาครัฐและเอกชน
2. ผู้บริหาร / ผู้ประกอบการธุรกิจด้านคหกรรมศาสตร์
3. นักวิชาการด้านคหกรรมศาสตร์ของภาครัฐและเอกชน
4. นักวิจัยด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางคหกรรมศาสตร์

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

1. คหกรรมศาสตร์

Home Economics Education
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. อาจารย์ในสถาบันการศึกษาของภาครัฐและเอกชน
2. ผู้บริหาร / ผู้ประกอบการธุรกิจด้านคหกรรมศาสตร์
3. นักวิชาการขั้นสูงด้านคหกรรมศาสตร์ของภาครัฐและเอกชน
4. นักวิจัยขั้นสูงด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางคหกรรมศาสตร์

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Bachelor of Science)

1. เทคโนโลยีสิ่งทอ (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Textile Technology

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. ผู้เชี่ยวชาญด้านการวางแผน ควบคุมการผลิต ควบคุมคุณภาพ ในภาคอุตสาหกรรมสิ่งทอ
2. ผู้เชี่ยวชาญด้านการตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ (อุตสาหกรรมการฟอก ย้อม พิมพ์และตกแต่งสิ่งทอ )
3. นักวิเคราะห์ และบริหารจัดการวัตถุดิบในงานสิ่งทอและแฟชั่น
4. นักวิจัย และพัฒนานวัตกรรมด้านสิ่งทอ
5. บุคลากร ที่ปรึกษา ในภาคอุตสาหกรรมสิ่งทอและแฟชั่น
6. ผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอและแฟชั่น (SME)

เทคโนโลยีบัณฑิต (Bachelor of Technology)

1. ออกแบบสิ่งทอและแฟชั่น (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ)

Textile Design and Fashion

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักออกแบบลายผ้า
     – Textile Designer
     – Textile Artist
     – Textile Product Designer
     – ที่ปรึกษาผู้ผลิตผ้าและผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
2. นักออกแบบเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย (Fashion Designer)
     – Fashion Consulting
     – Fashion Styling
     – Costume Designer
     – Fashion Illustration
     – Dress Maker
     – Patternmaker
     – Design Developer
     – Garment Technician
     – Q.A. in Garment
3. Graphics Designer
4. นักพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Developer)
5. ผู้ประกอบการธุรกิจสิ่งทอและแฟชั่น
6. ผู้ผลิตสินค้าสิ่งทอ
7. ผู้ควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
8. นักจัดการสินค้าสิ่งทอและแฟชั่น (Textile and Fashion Merchandiser)
9. ผู้จัดแสดงสินค้าเสื้อผ้าและสิ่งทอ
     – Visual Merchandiser
     – Museum Exhibition Designer
     – Modeling
10. นักวิชาชีพในสถานประกอบการด้านการออกแบบสิ่งทอและแฟชั่น
11. Organizer
12. Textile and Fashion Design Columnist
13. Tiktoker สายแฟชั่น
14. Blogger
15. แฟชั่นคอนเทนต์ครีเอเตอร์
16 แฟชั่นอินฟลูเอนเซอร์
17. Fashion Marketing
18. งานด้านสายวิชาการ

บริหารธุรกิจบัณฑิต (Bachelor of  Business Administration )

1. ผู้ประกอบการธุรกิจแฟชั่น (ปริญญาตรี 4 ปี ปกติ /พิเศษ)

Fashion Business Entrepreneurs

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. เจ้าของธุรกิจแฟชั่น (Business Owner)
2. นักสร้างแบรนด์แฟชั่น (Brand Creator)
3. อินฟลูเอนเซอร์ (Infuencer)/ นักรีวิวสินค้า (Reviewer)
4. คอนเทนต์ครีเอเตอร์ (Content Creator)
5.นักจัดซื้อสินค้าแฟชั่น (Buyer)
6. ผู้จัดการขายสินค้าแฟชั่น (Sale Manager)
7. นักการตลาดแฟชั่น (Marketier)
8. ผู้จัดการร้านแฟชั่น (Shop Manager)
9. ผู้บริหารแบรนด์แฟชั่น (Brand Executive)
10. สไตลิสและผู้ควบคุมภาพลักษณ์ (Stylist and Image Consultant )
11. นักจัดอีเว้นต์ (Event Creator)
12. นักจัดทำโฆษณาแฟชั่น (Advertising Producer)
13. งานเบื้องหลังแฟชั่นและเอนเทอร์เม้นท์ (Behind the scene team maker)
14. นักจัดวางท่างทางและบุคลิกภาพ (Choreographer)
15 นักชอปปิ้งส่วนบุคคล (Personal Shopper)

บริหารธุรกิจบัณฑิต (Bachelor of Business Administration)
1. การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ (ปริญญาตรี นานาชาติ)

    International Business Management

2. การจัดการการท่องเที่ยวและบริการนานาชาติ (ปริญญาตรี นานาชาติ)

International Tourism and Hospitality Management

3. การบัญชีและเทคโนโลยีสารสนเทศ (ปริญญาตรี นานาชาติ)

Accounting and Infomation Technology

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (Master of Business Administration)
1. บริหารธุรกิจ (ปริญญาโท 2 ปี สมทบ)

    Business Administration

2. การบัญชีและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Accounting and Infomation Technology

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (Master of Education)

1. การบริหารการศึกษา

Educational Administration

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Philosophy)
1. บริหารธุรกิจ

Business Admistration

2. การบริหารการศึกษา

Educational Admistration

ศิลปศาสตรบัณฑิต (ฺBachelor of Arts )

1. การศึกษาด้านสังคมและการจัดการ

Social Education and Management

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (Master of Arts )

1. พุทธศาสนาในโลก

Global Buddhism

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิชาการด้านศาสนา
2. พระ นักบวช
3. อาจารย์มหาวิทยาลัย
4. ผู้บริหารองค์กร หรือสถานประกอบการ อาทิ ผู้บริหารองค์กรศาสนา ผู้บริหารโรงงาน ผู้บริหารสถานประกอบการ ผู้บริหารองค์กรภาครัฐและเอกชน ฯลฯ

2. การศึกษาและสังคม

Education and Society

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิชาการด้านการศึกษา
2. อาจารย์มหาวิทยาลัย
3. ผู้บริหารองค์กร หรือสถานประกอบการ อาทิ ผู้บริหารโรงเรียน ผู้บริหารสถานประกอบการ ผู้บริหารองค์กรภาครัฐและเอกชน ฯลฯ
4. ผู้ประกอบการอิสระ

การจัดการมหาบัณฑิต (Master of Management )

1. วิทยาการจัดการ

Management Science

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิชาการด้านการจัดการ
2. อาจารย์มหาวิทยาลัยโรงเรียน สถาบันการศึกษา
3. ผู้บริหารองค์กร หรือสถานประกอบการ อาทิ ผู้บริหารโรงงาน ผู้บริหารสถานประกอบการ ผู้บริหารองค์กรภาครัฐและเอกชน ฯลฯ
4. ผู้ประกอบการอิสระ

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Philosophy)

1. พุทธศาสนาในโลก

Global Buddhism

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิชาการด้านศาสนา
2. พระ นักบวช
3. อาจารย์มหาวิทยาลัย
4. ผู้บริหารองค์กร หรือสถานประกอบการ อาทิ ผู้บริหารศาสนา ผู้บริหารโรงงาน ผู้บริหารสถานประกอบการ ผู้บริหารองค์กรภาครัฐและเอกชน ฯลฯ

2. การศึกษาและสังคม

Education and Society

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิชาการด้านการศึกษาและสังคม
2. อาจารย์มหาวิทยาลัย
3. ผู้บริหารองค์กร หรือสถานประกอบการ อาทิ ผู้บริหารโรงเรียน ผู้บริหารสถานประกอบการ ผู้บริหารองค์กรภาครัฐและเอกชน ฯลฯ

3. วิทยาการจัดการ

Management Science

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
1. นักวิชาการด้านการจัดการ
2. อาจารย์มหาวิทยาลัยโรงเรียน สถาบันการศึกษา
3. ผู้บริหารองค์กร หรือสถานประกอบการ อาทิ ผู้บริหารโรงงาน ผู้บริหารสถานประกอบการ ผู้บริหารองค์กรภาครัฐและเอกชน ฯลฯ
4. ผู้ประกอบการอิสระ
PHP Code Snippets Powered By : XYZScripts.com